bih.button.backtotop.text

บทความสุขภาพบำรุงราษฎร์

หมวดหมู่ของเนื้อหา

ตัวคัดกรองที่เลือก: ทั้งหมด

ประเภท : ทั้งหมด

ล้างทั้งหมด

พฤติกรรมที่ช่วยลดความเสี่ยงของนิ่ว

พฤติกรรมที่ควรทำ : ดื่มน้ำให้เพียงพอ – ช่วยให้สารตกค้างในปัสสาวะไม่ตกผลึกเป็นนิ่ว,กินอาหารที่สมดุล – ลดอาหารที่มีออกซาเลตและโซเดียมสูง และเพิ่มอาหารที่ช่วยป้องกันนิ่ว

อ่านเพิ่มเติม

อาหารมีบทบาทสำคัญในการป้องกันนิ่ว เพราะสารบางชนิดในอาหารอาจสะสมจนเกิดเป็นนิ่วได้

อาหารที่ควรหลีกเลี่ยงหรือกินในปริมาณจำกัด อาหารที่มีออกซาเลตสูง (เสี่ยงต่อการเกิดนิ่วแคลเซียมออกซาเลต) ,อาหารที่มีโซเดียมสูง (ทำให้ไตขับแคลเซียมออกทางปัสสาวะมากขึ้น),อาหารที่มีพิวรีนสูง (เสี่ยงต่อการเกิดนิ่วกรดยูริก)

อ่านเพิ่มเติม

การดื่มน้ำเป็นปัจจัยสำคัญที่สุดในการป้องกันการเกิดนิ่วในไตและทางเดินปัสสาวะ

ดื่มน้ำมากแค่ไหนถึงจะช่วยป้องกันนิ่ว? ปริมาณน้ำที่แนะนำ: ดื่มน้ำอย่างน้อย 2.5-3 ลิตรต่อวัน (ประมาณ 10-12 แก้ว)

อ่านเพิ่มเติม

ภาวะปัสสาวะรดที่นอนในเด็ก...ปัญหาที่ไม่ควรมองข้าม

สาเหตุที่เด็กปัสสาวะรดที่นอน อาจเกิดจากสาเหตุอย่างใดอย่างหนึ่งหรืออาจมีสาเหตุร่วมกัน ซึ่งเป็นภาวะที่สามารถวินิจฉัยได้เมื่อผู้ป่วยมีอายุมากกว่า 5 ปี ที่ปัสสาวะรดที่นอนมากกว่า 2 ครั้งต่อสัปดาห์เป็นเวลาอย่างน้อย 3 เดือนติดต่อกัน

อ่านเพิ่มเติม

ปัญหาคาใจ นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ

นิ่วคือการตกตะกอนของแร่ธาตุต่างๆ ที่จับตัวกันเกิดเป็นผลึกเล็กๆในน้ำปัสสาวะ ซึ่งเมื่อผลึกเล็กๆเหล่านี้เกาะตัวรวมกัน จะเกิดเป็นชิ้นส่วนหรือก้อนเล็กๆ ที่เรียกว่านิ่ว มักเกิดขึ้นในไตเป็นหลัก แต่นิ่วสามารถเคลื่อนที่ตกลงมาในระบบทางเดินปัสสาวะได้ทุกส่วน เช่น ในท่อไต กระเพาะปัสสาวะหรือท่อปัสสาวะ แล้วอาการแบบไหนที่เป็นสัญญาณเตือนว่าเป็นนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ การรักษาทำได้อย่างไรบ้าง รวมถึงคำแนะนำดีๆ จากคุณหมอในการป้องกันตัวเองจากโรคนี้ ติดตามรายละเอียดได้เลยในบทความนี้

อ่านเพิ่มเติม

วิเคราะห์ปัญหาการปัสสาวะด้วยการตรวจยูโรไดนามิก (Urodynamic analysis)

การตรวจยูโรไดนามิกหรือการตรวจปัสสาวะพลศาสตร์ คือ การตรวจการทำงานของระบบทางเดินปัสสาวะโดยรวมตั้งแต่กระเพาะปัสสาวะจนถึงท่อปัสสาวะเพื่อหาสาเหตุที่แท้จริงของความผิดปกติของระบบควบคุมการขับปัสสาวะ การตรวจวิเคราะห์ด้วยเทคนิคยูโรไดนามิกนี้สามารถตรวจอะไรได้บ้าง เหมาะกับใคร มีความเสี่ยงหรือภาวะแทรกซ้อนหรือไม่ ต้องมีการเตรียมตัวเป็นพิเศษหรือไม่ติดตามได้จากบทความนี้

อ่านเพิ่มเติม

ภาวะกระเพาะปัสสาวะบีบตัวไว EP.2

หากคุณคือคนหนึ่งที่มีปัญหาเกี่ยวกับการปัสสาวะ ปัสสาวะบ่อย กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ และกำลังเผชิญอยู่กับภาวะกระเพาะปัสสาวะบีบตัวไวเกิน (Overactive Bladder – OAB) ต้องการหาคำตอบเกี่ยวกับแนวทางการรักษา วิธีการดูแลคนเองทำได้อย่างไร ติดตามได้ที่นี่

อ่านเพิ่มเติม

ภาวะกระเพาะปัสสาวะบีบตัวไว EP.1

อาการปวดปัสสาวะบ่อย ๆ กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ อย่าชะล่าใจคิดว่าเป็นเรื่องปกติ ความจริงแล้วคุณอาจกำลังเผชิญอยู่กับภาวะกระเพาะปัสสาวะบีบตัวไวเกิน (Overactive Bladder – OAB) ที่ส่งผลกระทบกับคุณภาพชีวิตได้ในระยะยาว ถ้าไม่รีบรักษาอย่างทันท่วงที ภาวะนี้คืออะไร และเกิดกับใครได้บ้างติดตามได้ที่นี่

อ่านเพิ่มเติม

“กระเพาะปัสสาวะอักเสบ” โรคที่พบได้บ่อยในผู้หญิง

ใครที่มักกลั้นปัสสาวะนานๆ บ่อยๆ ดื่มน้ำน้อย ต้องฟังทางนี้ คุณอาจต้องพบเจอกับปัญหา "กระเพาะปัสสาวะอักเสบ" แล้วโรคนี้มักเกิดกับใคร หากเป็นแล้วแนวทางการรักษาที่ถูกต้องเป็นอย่างไร ติดตามได้เลย

อ่านเพิ่มเติม