You're been inactive for a while. For security reason, we'll automatically sign you out from our website. Please Click "Login" to extend your session
ตรวจสอบข้อมูลผู้ป่วย ผลการตรวจ กำหนดการนัด และอื่นๆ
ขณะนี้ ไม่สามารถเข้าสู่ระบบด้วยเบอร์โทรศัพท์เป็นการชั่วคราว ขออภัยในความไม่สะดวก
ยังไม่มีบัญชี? Create Account
ติดตามข่าวสารล่าสุด และ นัดปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญระดับโลกได้ทันที
มีบัญชีอยู่แล้ว? Log In
ตัวคัดกรองที่เลือก: ทั้งหมด
ประเภท : ทั้งหมด
ล้างทั้งหมด
ผศ.พญ. กีรติกานต์ บุญญาวรรณ แพทย์เฉพาะทางด้านรังสีรักษาและมะเร็งวิทยา มาพูดให้ความรู้เรื่องการรักษามะเร็งปอดด้วยรังสีรักษาเฉพาะจุด แบบที่เรียกว่า SBRT
มาฟัง พญ. ปิยะนุช จิตต์เที่ยง แพทย์เฉพาะทางด้านมะเร็งวิทยา ให้ความรู้เรื่องการตรวจยีนกลายพันธุ์ในมะเร็งปอด ทำไมถึงสำคัญ
มาฟัง รศ.พญ. ธัญนันท์ ใบสมุทร แพทย์เฉพาะทางด้านมะเร็งวิทยา ให้ความรู้เรื่องปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เป็นมะเร็งปอด อาการของโรค รวมถึงการคัดกรอง และการรักษา
มะเร็งปอดไม่ใช่จุดจบเสมอไป หากเรารู้เท่าทัน ใส่ใจสุขภาพ และเข้าถึงการรักษาตั้งแต่ระยะแรก โอกาสหายขาดมีอยู่จริง
ทำความรู้จัก ผศ.นพ. ยุทธนา ศตวรรษธำรง หัวหน้าศูนย์ระบบทางเดินอาหารและแพทย์เฉพาะทางด้านโรคระบบทางเดินอาหาร
วัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ที่เป็นชนิด เอ็มอาร์เอ็นเอ (mRNA) ผลิตโดยการใช้สารพันธุกรรมสังเคราะห์ที่จำลองมาจากสารพันธุกรรมของไวรัส เมื่อฉีดกระตุ้นเข้าไปในร่างกายจะไปกำกับให้เซลล์ผลิตสารโปรตีนสไปค์ เพื่อกระตุ้นทำให้เซลล์ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายสร้างภูมิต่อต้านเชื้อซาร์สโควี-2 โดยไม่เป็นอันตรายต่อเซลล์ร่างกายมนุษย์
โรคโควิด-19 เป็นโรคติดเชื้อทางเดินหายใจที่เกิดจากไวรัสซาร์สโควี-2 (SARS-CoV-2) ซึ่งติดต่อจากการสัมผัสกับละอองฝอยของน้ำลาย เสมหะ น้ำมูกของผู้ติดเชื้อ ระยะเวลาตั้งแต่ได้รับเชื้อจนถึงเริ่มมีอาการป่วยประมาณ 2-14 วัน
นวัตกรรมการตรวจวินิจฉัยด้วยเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ Photon Counting ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการตรวจวินิจฉัยและวางแผนการรักษาโรคให้ผู้ป่วย โดยเฉพาะการให้ภาพมีความคมชัดและความละเอียดสูงมาก ในขณะที่ใช้ปริมาณรังสีที่น้อยลง เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่ผู้ป่วย
โควิด-19 ถึงแม้ว่าตอนนี้จะไม่ได้รุนแรงมากเหมือนเมื่อก่อน แต่ก็ยังมีการระบาดอยู๋และน่าจะอยู่กับเราอีกหลายปีหรือตลอดไป เพราะเชื้อโรคสามารถกลายพันธุ์ รวมทั้งสามารถติดเชื้อซ้ำได้ จากข้อมูลจะเห็นว่ากลุ่มที่ควรให้ความสำคัญยังคงเป็นกลุ่ม 608