bih.button.backtotop.text

บทความสุขภาพบำรุงราษฎร์

หมวดหมู่ของเนื้อหา

ตัวคัดกรองที่เลือก: ทั้งหมด

ประเภท : ทั้งหมด

ล้างทั้งหมด

ทำไมถึงปวดท้องเมื่อมีประจำเดือน

อาการปวดประจำเดือนหากมีอาการปวดเพียงเล็กน้อยและสามารถใช้ชีวิตประจำวันได้ตามปกติก็ไม่อันตราย แต่ถ้าอาการปวดประจำเดือนเล็กน้อยแต่ปวดมาเป็นระยะเวลานาน อาจเป็นสัญญาณบ่งบอกของโรคร้ายได้เช่นเดียวกับอาการปวดประจำเดือนที่รุนแรงจนส่งผลต่อคุณภาพชีวิต

อ่านเพิ่มเติม

มะเร็งปากมดลูก มะเร็งตัวร้ายที่ป้องกันได้

จากสถิติขององค์การอนามัยโลกในปี 2563 มะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบได้บ่อยเป็นอันดับ 4 ของผู้หญิงทั่วโลก ในปัจจุบันเราทราบว่าเชื้อ HPVเป็นสาเหตุหลักของการเกิดมะเร็งปากมดลูก ซึ่งสามารถป้องกันมะเร็งปากมดลูกได้ด้วยการฉีดวัคซีน

อ่านเพิ่มเติม

ความประทับใจในการฝากครรภ์และคลอดลูกในภาวะปากมดลูกสั้น

“ไม่เคยมีความกังวลเลยว่าลูกจะไม่โอเค ทุกครั้งที่มาเยี่ยมลูก คุณหมอไม่เคยทำให้เราเครียด จนวันที่ลูกไม่ต้องใช้เครื่องช่วยหายใจแล้ว มันเป็นความธรรมดาที่พิเศษ”

อ่านเพิ่มเติม

คลอดบำรุงราษฏร์ต้องเตรียมตัวอย่างไร

คลอดบำรุงราษฎร์ต้องเตรียมตัวอย่างไรบ้าง และอุปกรณ์อะไรที่ต้องนำมาโรงพยาบาล

อ่านเพิ่มเติม

ครั้งแรกกับการเปิดให้ชมห้องคลอดที่บำรุงราษฎร์

แผนกห้องคลอดที่บำรุงราษฎร์ ตั้งอยู่ชั้น 3 อาคาร บี ซึ่งเป็นพื้นที่ใหญ่ ที่รวมแผนก NICU หรือแผนกทารกแรกเกิดอยู่ในชั้นเดียวกัน เพื่อดูแลสุขภาพทารกหลังคลอดได้ทันที

อ่านเพิ่มเติม

เปิดบ้านพาชมห้องพักคุณแม่หลังคลอด

ชมบรรยากาศห้องพักหลังคลอดสำหรับคุณแม่และทารก ที่มีการออกแบบที่ทันสมัย สิ่งอำนวยความสะดวกครบครัน และเพิ่มความปลอดภัยแบบเต็มระดับ

อ่านเพิ่มเติม

ลูกดิ้นน้อยลง สัญญาณเสี่ยงที่ต้องสังเกต

การดิ้นของทารก คือการบ่งบอกถึงสุขภาพที่ดีในครรภ์ มารดาจะเริ่มรับรู้การดิ้นของทารกได้ ประมาณอายุครรภ์ 16 สัปดาห์ขึ้นไป

อ่านเพิ่มเติม

ครรภ์แฝด ต้องระวังเสี่ยงครรภ์เป็นพิษเพิ่มขึ้น

การตั้งครรภ์แฝดจะเพิ่มความเสี่ยงของมารดาและทารกสูงขึ้น โดยทำให้เกิดการแพ้ ทารกพิการแต่กำเนิด และการคลอดก่อนกำหนดสูงขึ้น รวมถึงภาวะครรภ์เป็นพิษ และภาวะตกเลือดหลังคลอดสูงขึ้น

อ่านเพิ่มเติม

ท้องผูกตั้งแต่จำความได้ แต่สามารถรักษาได้ด้วยการฝึกเบ่ง (Biofeedback)

คุณเจนณิสตา มีอาการท้องผูกตั้งแต่จำความได้ แต่คิดว่าเป็นเรื่องปกติ จึงซื้อยาระบายมาโดยตลอด แท้จริงผู้ป่วยมีภาวะ Dyssynergic defecation ซึ่งเกิดจากภาวะหูรูดทวารหนักทำงานไม่สัมพันธ์กับการสั่งการ ส่งผลให้มีอาการท้องผูกเรื้อรัง ซึ่งรักษาได้โดยการฝึกเบ่งให้ถูกวิธี

อ่านเพิ่มเติม