You're been inactive for a while. For security reason, we'll automatically sign you out from our website. Please Click "Login" to extend your session
ตรวจสอบข้อมูลผู้ป่วย ผลการตรวจ กำหนดการนัด และอื่นๆ
ขณะนี้ ไม่สามารถเข้าสู่ระบบด้วยเบอร์โทรศัพท์เป็นการชั่วคราว ขออภัยในความไม่สะดวก
ยังไม่มีบัญชี? Create Account
ติดตามข่าวสารล่าสุด และ นัดปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญระดับโลกได้ทันที
มีบัญชีอยู่แล้ว? Log In
ตัวคัดกรองที่เลือก: ทั้งหมด
ประเภท : ทั้งหมด
ล้างทั้งหมด
พฤติกรรมที่ควรทำ : ดื่มน้ำให้เพียงพอ – ช่วยให้สารตกค้างในปัสสาวะไม่ตกผลึกเป็นนิ่ว,กินอาหารที่สมดุล – ลดอาหารที่มีออกซาเลตและโซเดียมสูง และเพิ่มอาหารที่ช่วยป้องกันนิ่ว
อาหารที่ควรหลีกเลี่ยงหรือกินในปริมาณจำกัด อาหารที่มีออกซาเลตสูง (เสี่ยงต่อการเกิดนิ่วแคลเซียมออกซาเลต) ,อาหารที่มีโซเดียมสูง (ทำให้ไตขับแคลเซียมออกทางปัสสาวะมากขึ้น),อาหารที่มีพิวรีนสูง (เสี่ยงต่อการเกิดนิ่วกรดยูริก)
ดื่มน้ำมากแค่ไหนถึงจะช่วยป้องกันนิ่ว? ปริมาณน้ำที่แนะนำ: ดื่มน้ำอย่างน้อย 2.5-3 ลิตรต่อวัน (ประมาณ 10-12 แก้ว)
ข้อดีของการปลูกถ่ายอวัยวะ ผู้ป่วยสามารถกลับมาใช้ชีวิตได้ใกล้เคียงปกติ มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และลดภาระค่าใช้จ่ายในระยะยาวที่เกี่ยวข้องกับการรักษาโรคอวัยวะล้มเหลว
คุณรู้หรือไม่ ? ผู้บริจาค 1 คน สามารถช่วยเหลือ เพื่อนมนุษย์ได้ถึง 8 ราย การบริจาคอวัยวะ จึงเป็นการต่อชีวิต และให้โอกาส เพื่อนมนุษย์ในการดำเนินชีวิตต่อไป การปลูกถ่ายอวัยวะ คือ การผ่าตัดใส่อวัยวะ จากผู้บริจาค เพื่อยืดชีวิตและช่วยให้ผู้ป่วยที่เป็นโรคมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
การให้อวัยวะ คือการมอบโอกาสในการมีชีวิตใหม่ และเป็นของขวัญที่ล้ำค่าที่สุด
โดย นพ.เจนวิทย์ วงศ์บุญสิน แพทย์ชำนาญการด้านอายุรศาสตร์โรคไต และเวชพันธุศาสตร์โรคไต
ในปัจจุบันพบว่าอัตราการเกิดมะเร็งไตในคนไทยเพิ่มมากขึ้น หากพบช้า โอกาสในการเสียไตทั้งหมดหรือโอกาสในการรอดชีวิตจะน้อยลง แต่ถ้าพบตั้งแต่ระยะเริ่มแรก การรักษาที่เหมาะสมเป็นอย่างไร และทำให้ผู้ป่วยหายขาดจากโรคได้หรือไม่ พบคำตอบจากคุณหมอได้ที่นี่
นิ่วนำพาปัญหาอะไรมาสู่ชีวิตของเราบ้าง? วันนี้คุณหมอผู้ชำนาญการของเราจะมาตอบทุกคำถามที่เกิดขึ้น ในระบบทางเดินปัสสาวะ ว่าเป็นภัยร้ายกับร่างกายมากน้อยแค่ไหน ตลอดจนวิธีการรับมืออย่างถูกต้อง