You're been inactive for a while. For security reason, we'll automatically sign you out from our website. Please Click "Login" to extend your session
ตรวจสอบข้อมูลผู้ป่วย ผลการตรวจ กำหนดการนัด และอื่นๆ
ยังไม่มีบัญชี? Create Account
ติดตามข่าวสารล่าสุด และ นัดปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญระดับโลกได้ทันที
มีบัญชีอยู่แล้ว? Log In
การสูญเสียการได้ยิน
ค้นหาแพทย์
ติดต่อสอบถาม
นัดหมายแพทย์
หูเป็นอวัยวะรับเสียง มีส่วนประกอบอยู่หลายส่วนสลับซับซ้อน ทำให้สามารถสื่อความหมายเข้าใจซึ่งกันและกัน การหลบหลีกภัยอันตรายก็ต้องอาศัยความสามารถในการได้ยิน การที่คนเรามีหูสองข้างเพื่อที่จะสามารถบอกทิศทางของเสียงได้ว่ามาจากทิศไหน
1. กระดูกนำเสียง 3 อัน คือ
2. ท่อเล็กๆ ซึ่งเชื่อมต่อหูชั้นกลางกับโพรงอากาศหลังโพรงจมูกในคอ ท่อนี้มีชื่อว่า Eustachian tube ทำหน้าที่ในการปรับความดันอากาศในช่องหูชั้นกลาง
แพทย์จะทำการซักประวัติอย่างละเอียดเกี่ยวกับการสูญเสียการได้ยินของท่าน ซึ่งควรจะตอบให้ละเอียด สิ่งที่แพทย์ต้องการทราบ ได้แก่
2. แพทย์จะทำการตรวจหูอย่างละเอียด ตรวจจมูก และคอ นอกจากนั้นก็จะตรวจระบบประสาท เส้นประสาทสมองต่างๆ
3. ตรวจพิเศษต่าง ๆ
4. ถ้ายังหาสาเหตุไม่พบ หรือในรายที่แพทย์สงสัยจะมีเนื้องอก อาจต้องตรวจเอ็กซเรย์สนามแม่เหล็ก (CT/MRI) เป็นต้น
5. การตรวจเลือดเบาหวาน โรคไต ไขมัน คลอเรสเตอรอล ความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดง เชื้อซิฟิลิสหรือภูมิคุ้มกันของร่างกาย เป็นต้น
2.1 มีอาการไม่มาก และเริ่มมีอาการไม่เกิน 1 เดือน อาจรักษาได้ด้วยยารับประทาน
2.2 สูญเสียการได้ยินไม่มากสามารถรักษาฟื้นฟูได้ โดยการใส่เครื่องช่วยฟัง ซึ่งเป็นเครื่องขยายเสียงขนาดเล็กใช้สอดใส่เข้าไปในรูหู หรือวางทัดหลังหู
2.3 ผู้ที่มีประสาทหูพิการรุนแรงที่เรียกว่าหูหนวกหรือเกือบหนวก การใส่เครื่องช่วยฟังมักไม่ได้ผล จำเป็นต้องใช้การรักษาแนวใหม่ คือการฝังประสาทหูเทียมซึ่งต้องใช้ความพิถีพิถันและความร่วมมือเป็นพิเศษระหว่างทีมแพทย์ผ่าตัดและผู้เชี่ยวชาญสาขาโสตสัมผัสและการพูด
การรักษาที่เกี่ยวข้อง
แพทย์ที่เกี่ยวข้อง
ศูนย์รักษาที่เกี่ยวข้อง
โทรเพื่อทำการนัดหมาย
สนทนากับมีเดียกูรู สุทธิชัย หยุ่น ในหัวข้อ "ตระหนักรู้ก่อนสูญเสียการได้ยิน" โดย ศ.พญ. เสาวรส ภทรภักดิ์ แพทย์ผู้ชำนาญการด้านหู คอ จมูก ผู้อำนวยการศูนย์การได้ยิน และการทรงตัว โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์
ตามการสนทนาไม่ทัน ต้องพยายามอย่างมากที่จะจับใจความโดยเฉพาะในวงสนทนที่มีหลายคนบางครั้งต้องใช้การอ่านปากเข้าช่วย
1 ใน 3 ประชากรอายุมากกว่า 50 ปี มีโอกาสเกิดการบกพร่องทางการได้ยิน เช็คปัจจัยสี่ยง รู้เร็ว รักษาได้