You're been inactive for a while. For security reason, we'll automatically sign you out from our website. Please Click "Login" to extend your session
ตรวจสอบข้อมูลผู้ป่วย ผลการตรวจ กำหนดการนัด และอื่นๆ
ยังไม่มีบัญชี? Create Account
ติดตามข่าวสารล่าสุด และ นัดปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญระดับโลกได้ทันที
มีบัญชีอยู่แล้ว? Log In
ตัวคัดกรองที่เลือก: ทั้งหมด
ประเภท : ทั้งหมด
ล้างทั้งหมด
หลายคนอาจมีคำถามว่า ควรถ่ายหนักบ่อยครั้งแค่ไหนจึงจะเรียกว่าปกติ คนแต่ละคนมีอุปนิสัยการถ่ายหนักแตกต่างกันออกไป จึงไม่สามารถบอกได้อย่างเฉพาะเจาะจงว่าควรถ่ายหนักวันละกี่ครั้ง การที่จะบอกว่าคนๆนั้นถ่ายหนักบ่อยครั้งกว่าปกติจึงต้องดูรูปแบบการถ่ายหนักของแต่ละคนประกอบด้วย
ให้บริการดูแลด้านหัวใจอย่างครอบคลุม ด้วยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญและเทคโนโลยีการรักษาที่ทันสมัย
“ฉันคิดว่า การที่มีความคิดแง่บวก ไม่กดดันตัวเอง และคิดอยู่เสมอว่า เราไม่ได้ป่วยเป็นมะเร็ง ทำชีวิตให้เป็นปกติ และมีความสุขในแบบอย่างที่เราเคยเป็น นั่นจะเป็นทางที่ทำให้เรารักษาและหายจากการเป็นโรคร้ายนี้ได้” หนึ่งในความคิดดีๆของผู้ป่วยมะเร็งเต้านม คุณ Tin May Lwin ที่เข้ารับการรักษาที่ศูนย์มะเร็งฮอไรซัน และทำให้เธอได้ชีวิตที่สนุกสดใสกลับคืนมา
ปัญหาการควบคุมน้ำหนักแล้วน้ำหนักกลับมาเพิ่มเมื่อเผลอทานเยอะ เป็นเรื่องที่พบเจออยู่บ่อยครั้ง เรามีความรู้และเทคนิคดีๆ มาฝาก
การตรวจพบและวินิจฉัยโรคอย่างแม่นยำ เป็นสิ่งจำเป็นในการใช้ดูแลและวางแผนการรักษาผู้ป่วย จึงเป็นหน้าที่ที่สำคัญมากของ รังสีแพทย์ (Radiologist) อย่างเช่น พญ.กมลธรรม พูลภิญโญ (Dr.Kamoltham Pulpinyo) รังสีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านเต้านม (Breast Interventionist) แห่งโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ ที่เน้นถึงความแม่นยำและความฉับไวในการตรวจค้นหาโรคมะเร็งเต้านม
ยิ่งนับวันผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก ยิ่งมีแนวโน้มที่จะอายุน้อยลงเรื่อย ๆ จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งทั้งที่ยังอายุไม่ถึง 50 ปีนั้นเพิ่มมากขึ้นถึงสองเท่าในรอบสามสิบปีที่ผ่านมา แต่นอกจากการส่องกล้องตรวจลำไส้ใหญ่แล้ว คุณยังสามารถตรวจเชิงรุกยิ่งกว่านั้น ด้วยการตรวจคัดกรองยีนเพื่อให้รู้แนวโน้มในการเกิดมะเร็งเสียแต่เนิ่นๆ
หากพูดถึงการผ่าตัดกระเพาะอาหาร ผู้ป่วยหลายท่านอาจมีความกังวลในการผ่าตัด ไม่ว่าจะเป็นแผลติดเชื้อ หรือการพักฟื้นนาน ปัจจุบันเรามีอีกหนึ่งทางเลือกในการรักษาผู้ป่วยด้วยวิธีส่องกล้องผ่าตัดกระเพาะอาหาร มีข้อดีอย่างไร
มะเร็งกระเพาะปัสสาวะถือเป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับสิบของโลก และเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตด้วยมะเร็งอันดับที่สิบสอง การตรวจพบแต่เนิ่น ๆ จะเพิ่มอัตราการรอดชีวิตได้ถึงสามเท่า โดยโอกาสรอดชีวิตของผู้ป่วยซึ่งตรวจพบในระยะแพร่กระจายจะอยู่ที่ร้อยละ 33 เท่านั้น แต่การค้นพบใหม่ในการรักษามะเร็งเฉพาะจุดอาจเข้ามาผ่าทางตันได้ทันเวลา โดยเมื่อปีที่แล้วองค์การอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกา (USFDA) เพิ่งอนุมัติให้ใช้ erdafitinib ซึ่งออกฤทธิ์ขัดขวางการทำงานของยีน FGFR เป็นยารักษาแบบเฉพาะจุดตัวแรกสำหรับมะเร็งกระเพาะปัสสาวะระยะลุกลามหรือแพร่กระจายในผู้ใหญ่ ที่น่าตื่นเต้นเป็นอย่างยิ่งก็คือ FGFR เป็นโปรตีนที่พบได้ในเซลล์ต่าง ๆ ทั่วทั้งร่างกาย ทำให้มีโอกาสที่ยานี้รักษามะเร็งชนิดอื่น ๆ ได้เช่นกัน ซึ่งรวมถึงมะเร็งที่รักษายากที่สุดชนิดหนึ่ง คือมะเร็งสมองกลิโอมา (glioma) ด้วย
วิธีการรักษาผู้ที่มีน้ำหนักมาก หรือโรคอ้วนโดยการผ่าตัดกระเพาะอาหาร หลายท่านคงเคยได้ยินวิธีนี้อยู่เป็นประจำ แต่วิธีนี้จะเหมาะกับใครบ้าง มีข้อดีอย่างไร