bih.button.backtotop.text

บทความสุขภาพบำรุงราษฎร์

หมวดหมู่ของเนื้อหา

ตัวคัดกรองที่เลือก: ทั้งหมด

ประเภท : ทั้งหมด

ล้างทั้งหมด

โรครองช้ำ

โดย น.ต.นพ. ปองพล เพ็ชร์คำ แพทย์ผู้ชำนาญการด้านศัลยศาสตร์กระดูกและข้อ และการผ่าตัดเท้าและข้อเท้า

อ่านเพิ่มเติม

โรคปลอกหุ้มเอ็นข้อมืออักเสบ

โดย นพ.สุรชัย รัตนเสรีเกียรติ แพทย์ผู้ชำนาญการด้านศัลยศาสตร์กระดูกและข้อ, การผ่าตัดมือ

อ่านเพิ่มเติม

การผ่าตัดข้อเทียมเพียงบางส่วน

โดย น.พ. ตุลพงษ์ อ่ำพูล แพทย์ผู้ชำนาญการศัลยศาสตร์กระดูกและข้อ และการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเทียม

อ่านเพิ่มเติม

สัญญาณข้อสะโพกเสื่อม

โดย รศ. นพ.สิทธิพร อรพินท์ แพทย์ผู้ชำนาญการด้านศัลยศาสตร์กระดูกและข้อ, ข้อเทียม

อ่านเพิ่มเติม

การตรวจคัดกรองกระดูกสันหลังคดในเด็กและวัยรุ่น

โดย นพ.ปฤศนัย พฤฒิกุล แพทย์ผู้ชำนาญการด้านศัลยศาสตร์กระดูกและข้อการผ่าตัดกระดูกสันหลัง

อ่านเพิ่มเติม

โรครองช้ำ (Plantar Fasciitis)

โรคพังผืดใต้ฝ่าเท้าอักเสบหรือรองช้ำ คือภาวะที่มีการอักเสบของพังผืดใต้ฝ่าเท้าหรือ plantar fascia ซึ่งเป็นสาเหตุของอาการเจ็บส้นเท้าที่พบบ่อยที่สุด โดยมากมักเกิดการอักเสบบริเวณที่พังผืดยึดเกาะกับกระดูกส้นเท้า ลักษณะสำคัญของภาวะนี้คือมีอาการปวดที่ส้นเท้าหรือฝ่าเท้า โดยจะปวดมากที่สุดเมื่อลงจากเตียงในตอนเช้าหรือหลังจากนั่งนานๆและอาการทุเลาลงเมื่อเดินไปสักพักหรือหลังทำการยืดเหยียดฝ่าเท้า โดยทั่วไปรองช้ำเป็นโรคที่สามารถหายได้เองแม้ไม่ได้ทำการรักษาใดใด แต่การได้รับการรักษาที่เหมาะสมจะทำให้หายได้เร็วขึ้นและการดูแลฝ่าเท้าอย่างถูกวิธีจะทำให้อัตราการกลับเป็นซ้ำน้อยลง

อ่านเพิ่มเติม

เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการผ่าตัดกระดูกสันหลัง

ในอดีตการผ่าตัดกระดูกสันหลังอย่างเป็นรูปแบบได้มีการบันทักและเริ่มเมื่อประมาณต้นปี ค.ศ. 1900 ซึ่งเกิดตามมาหลังจากการมีการใช้ยาดมสลบ มีเครื่อง x-ray และมียาฆ่าเชื้อที่ดีขึ้น การผ่าตัดหมอนรองกระดูกสันหลังเริ่มมีการทำครั้งแรกในปี 1932 มีการใช้เครื่องตรวจเคลื่อนแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI) ครั้งแรกเมื่อปี 1977 ซึ่งสามารถศึกษาถึงโครงสร้างภายในกระดูกสันหลัง รวมถึง เส้นประสาท และไขสันหลัง การผ่าตัดในอดีตมีความแตกต่างจากปัจจุบันอย่างมาก

อ่านเพิ่มเติม

ข้อเท้าพลิกทางด้านนอก

ภาวะข้อเท้าพลิก ถือเป็นการบาดเจ็บที่เกิดขึ้นได้บ่อยที่สุดชนิดหนึ่งในบรรดาการบาดเจ็บของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ ที่ทำให้ผู้ป่วยต้องมาพบแพทย์ที่ห้องฉุกเฉิน โดยพบมากที่สุด ในช่วงอายุระหว่าง 15-35 ปี โดยพบอุบัติการณ์การเกิดข้อเท้าพลิกทางด้านนอก (lateral ankle sprain) อยู่ระหว่าง 0.54-11.55 ต่อ 1,000 คน

อ่านเพิ่มเติม

โรคโพรงกระดูกสันหลังตีบแคบ

โรคโพรงกระดูกสันหลังตีบแคบสามารถเกิดขึ้นได้จากอาการปวดหลังเรื้อรัง ลองมาฟังลักษณะอาการของโรคโพรงกระดูกสันหลังตีบแคบ และแนวทางการรักษา

อ่านเพิ่มเติม