bih.button.backtotop.text

บทความสุขภาพบำรุงราษฎร์

หมวดหมู่ของเนื้อหา

ตัวคัดกรองที่เลือก: ทั้งหมด

ประเภท : ทั้งหมด

ล้างทั้งหมด

การป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีก่อนการสัมผัสเชื้อ

PrEP คือ การให้ยาต้านไวรัสแก่ผู้ที่ยังไม่ติดเชื้อเอชไอวีก่อนมีการสัมผัสที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ เพื่อป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี แต่อย่างไรก็ตาม PrEp ไม่สามารถป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ได้

อ่านเพิ่มเติม

การป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีหลังการสัมผัสเชื้อ

PEP เป็นยาป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี (HIV) ในกรณีฉุกเฉินต้องรับประทานให้เร็วที่สุดหลังสัมผัสความเสี่ยงที่จะติดเชื้อเอชไอวี โดยต้องเริ่มรับประทานภายใน 72 ชั่วโมงหลังมีความเสี่ยง และรับประทานต่อเนื่องติดต่อกันนาน 28 วัน

อ่านเพิ่มเติม

ภาวะเมตาบอลิกซินโดรมในผู้ติดเชื้อเอชไอวี

โรคอ้วนลงพุงภาวะเมตาบอลิกซินโดรม สามารถเพิ่มความเสี่ยงของการเกิดโรคเรื้อรังต่างๆ เช่น โรคหลอดเลือดสมอง และโรคมะเร็งบางชนิด เป็นต้น หลายการศึกษาพบว่า ผู้ที่ติดเชื้อเอชไอวีที่ได้รับยาต้านไวรัสมีภาวะเมตาบอลิกซินโดรมประมาณร้อยละ 14-18

อ่านเพิ่มเติม

การดูแลตนเองของผู้ติดเชื้อเอชไอวีในช่วงสถานการณ์โควิด

โควิด-19 เป็นโรคติดต่ออุบัติใหม่จากเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่หรือ SARS-CoV-2 อาการทั่วไปได้แก่ มีไข้ อ่อนเพลีย ไอ หายใจลำบาก เป็นสาเหตุของโรคปอดบวมและโรคทางระบบทางเดินหายใจ โรคไตวายเฉียบพลัน ติดเชื้อในกระแสเลือด และอาจรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้

อ่านเพิ่มเติม

การดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุที่ติดเชื้อเอชไอวี

โรคเอดส์ยังไม่มียารักษาหาย แต่ยาต้านไวรัสทำให้ผู้ติดเชื้อมีชีวิตยืนยาวขี้น โดยผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้าสู่วัยสูงอายุจะมีโรคเรื้อรังมากกว่าคนปกติ แต่หากผู้ติดเชื้อดูแลตนเองเป็นอย่างดีก็สามารถมีสุขภาพดีเมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุได้

อ่านเพิ่มเติม

การตรวจและวินิจฉัยหาเชื้อเอชไอวี

เอชไอวี (HIV) เป็นเชื้อในกลุ่มของ retrovirus จัดอยู่ใน family Retroviridae มีจีโนมเป็น RNA เป็นเอชไอวีไวรัสที่เป็นสาเหตุของโรคเอดส์ แบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ HIV-1 และ HIV-2 เชื้อเอชไอวีสามารถแพร่ได้ทางเลือดหรือสารคัดหลั่งต่างๆ ของร่างกาย

อ่านเพิ่มเติม

ความรู้เกี่ยวกับเอชไอวีและเอดส์

เอชไอวีและเอดส์เป็นหนึ่งในสาเหตุหลักของการเสียชีวิตทั่วโลก และยังเป็นโรคที่คุกคามมนุษยชาติที่ร้ายแรงที่สุดโรคหนึ่งในปัจจุบันนี้

อ่านเพิ่มเติม