bih.button.backtotop.text

บทความสุขภาพบำรุงราษฎร์

หมวดหมู่ของเนื้อหา

ตัวคัดกรองที่เลือก: ทั้งหมด

ประเภท : ทั้งหมด

ล้างทั้งหมด

ตรวจสุขภาพหลอดเลือดสมองด้วยเทคโนโลยีอัลตราซาวด์

การที่มีหลอดเลือดสมองตีบนั้น บางครั้งยังไม่ก่อให้เกิดอาการใดๆ แต่ถ้าทิ้งไว้จะทำให้เพิ่มความเสี่ยงต่อโรคอัมพาตอัมพฤกษ์ซึ่งอาจร้ายแรงถึงชีวิตได้ การหาความเสี่ยงและป้องกันก่อนที่จะเกิดโรคนั้นจึงมีความสำคัญอย่างมาก การหาความเสี่ยงวิธีง่ายๆทำได้อย่างไรอ่านได้จากบทความนี้

อ่านเพิ่มเติม

รู้ทันโรคหลอดเลือดสมอง โรคร้ายที่ใกล้ตัว

เมื่อพูดถึงโรคร้ายที่เป็นอันตรายถึงชีวิต คนส่วนใหญ่มักนึกถึงโรคมะเร็งและโรคหัวใจเป็นลำดับแรกๆ แต่จากสถิติในประเทศไทยพบว่า โรคหลอดเลือดสมองเป็นสาเหตุการเสียชีวิตก่อนวันอันควรสูงเป็นอันดับหนึ่งในเพศหญิงและสูงเป็นอันดับสองในเพศชาย รวมถึงทำให้มีอัตราตายมากกว่าโรคหัวใจขาดเลือดและโรคเบาหวานถึง 2 เท่าตัว บทความนี้จะพาทุกท่านให้รู้เท่าทันโรคหลอดเลือดสมองกันให้มากขึ้นค่ะ

อ่านเพิ่มเติม

Pharmacogenomics ในผู้ป่วยลมชัก

ในผู้ป่วยโรคลมชักการใช้ยากันชักเพื่อคุมอาการเป็นวิธีการรักษาที่สะดวกและได้ผลลัพธ์ที่อย่างไรก็ตามแม้จะมีการใช้ยากันชักที่มีประสิทธิภาพดีแล้ว แต่ผู้ป่วยโรคลมชักบางรายอาจไม่ตอบสนองต่อการรักษาเลยและจำเป็นต้องเปลี่ยนไปใช้ยาตัวอื่นแทน

อ่านเพิ่มเติม

เรียนรู้รับมือโรคลมชักในเด็ก

โรคลมชักหากเกิดขึ้นในเด็ก คุณพ่อคุณแม่อาจจะตกใจ และมีความกังวลเป็นอย่างมาก วิดีนี้มีข้อมูลที่น่าสนใจให้เรียนรู้รับมือกันค่ะ

อ่านเพิ่มเติม

โรคลมชักรักษาได้

โรคลมชักเกิดขึ้นได้หลายสาเหตุ วิธีการรักษาก็มีความหลากหลายเช่นกัน และทุกแนวทางก็มีเป้าหมายเดียวกัน คือทำให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

อ่านเพิ่มเติม

Treatments & Equipment องค์ประกอบสำคัญเพื่อผลลัพธ์การรักษาที่ดี

ปัจจุบันมีอุปกรณ์ เครื่องมือต่างๆ เข้ามามีบทบาทช่วยให้แพทย์ทำการรักษาได้อย่างตรงจุดเพื่อผลลัพธ์ที่ดีและความปลอดภัยสูงสุดของคนไข้ทุกคน

อ่านเพิ่มเติม

ใครบ้างมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคลมชัก

วิดีโอนี้มีข้อมูลรายละเอียดที่น่าสนใจของเรื่องโรคลมชักที่เกิดขึ้นได้ทุกเพศทุกวัย ให้ติดตามกันค่ะ

อ่านเพิ่มเติม

โรคลมชักเกิดขึ้นได้อย่างไร

โรคลมชักเป็นโรคที่เกิดได้ทุกเพศทุกวัยตั้งแต่เด็กน้อยวัยแรกเกิดจนถึงผู้สูงอายุ

อ่านเพิ่มเติม

สัญญาณอันตรายของโรคลมชัก

โรคลมชักหลายคนอาจจะไม่คุ้นเคยสักเท่าไหร่ แต่จากสถิติในประเทศไทยพบผู้ป่วยโรคลมชักหลายแสนคน

อ่านเพิ่มเติม